วันศุกร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556


บทที่8 นวัตกรรมการศึกษา

             บทเรียนโปรแกรมต้องเรียบเรียงข้อคำถามให้เกี่ยวข้องกับคำอธิบายทำไว้ก่อนและคำถามข้อต่อไปก็ต้องมีความสัมพันธ์ต่อเนื่องก่อนหน้าเสมอพื้นฐานทางจิตวิทยาของบทเรียนโปรแกรมเป็นทฤษฎีแนวพฤติกรรมน้อมที่สำคัญ คือ
          ทฤษฎีการวางเงื่อนไข ของธอร์นไดต์ โดยใช้ข้อความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองและการเสริมแรงลักษณะของบทเรียนโปรแกรมการแบ่งชั้นการเรียนรู้เป็นหน่วยย่อยๆ เรียงจากน้อยไปยากเปิดโอกาสให้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนอย่างกระฉับกระเฉงให้ผู้เรียนได้ทราบผลการเรียนของตนอย่างทันทีทันใดให้ผู้เรียนประสบผลสำเร็จในการเรียนเป็นระยะๆประเภทของบทเรียนโปรแกรมแบ่งเป็น 2 ประเภท
          1
แบบเส้นตรง ผู้เรียนทุกคนเรียนผ่านกรอบของบทเรียนทุกรอบ
         2
แบบสาขา ผู้เรียนแต่ละคนไม่จำเป็นต้องเรียนผ่านเรียนผ่านทุกกรอบชุดการสอน คือ การวางแผนการเรียนการสอนโดยใช้สื่อต่างๆร่วมกัน ทฤษฎีที่ก่อให้เกิดชุดการสอน คือ
         1
การใช้สื่อประสม คือ การจัดระบบการผลิตสื่อการสอนหลายอย่างมาผสมผสานกันอย่างเหมาะสมเพื่อใช้สอนในเนื้อหาบทเรียนเดียวกัน
        2
การใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ เป็นวิธีหนึ่งที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ทำกิจกรมเป็นกลุ่มควบคู่ไปด้วย
        3
การใช้หลักจิตวิทยาการเรียนรู้มาจัดสภาพในการเรียนรู้มีลักษณะสำคัญคือผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมด้วยตนเองประเภทของชุดการสอนแบ่งเป็น 3 ประเภทคือ
..........
ชุดการสอนประกอบคำบรรยาย เป็นชุดการสอนสำหรับให้ครูใช้ประกอบการบรรยาย
..........
ชุดการสอนแบบกลุ่มเล็กหรือชุดการสอนศูนย์การเรียน ใช้ประกอบกิจกรรมของผู้เรียนเป็นกลุ่มเล็กๆ
..........
ชุดการสอนรายบุคคล ใช้สำหรับให้ผู้เรียนด้วยตนเองตามความสะดวกและความสนใจของตนเององค์ประกอบของชุดการสอนคำชี้แจงจุดมุ่งหมายการประเมินผลเบื้องต้นรายการเนื้อหาวิชาและสิ่งที่เกี่ยวข้องอื่นๆ
         การกำหนดกิจกรรมการประเมินผลขั้นสุดท้ายศูนย์การเรียนคือ การจัดบรรยากาศที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรียนโดยมุ่งให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเองจากโปรแกรมการเรียนรู้ซึ่งจัดไว้ในรูปชุดการเรียนการสอนประเภทของศูนย์การเรียนศูนย์การเรียนในห้องเรียนศูนย์การเรียนเอกเทศศูนย์การเรียนสำหรับครูศูนย์วิชาการศูนย์การเรียนชุมชนการสอนแบบจุลภาค คือ
         การสอนในสถาณการณ์จำลองห้องเรียนง่ายๆ เป็นการสอนที่มุ่งฝึกทักษะเฉพาะในการสอนหลักการที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบจุลภาคการเสริมแรงการรับรู้ผลย้อนกลับการฝึกซ้ำหลายๆการถ่ายโอนการเรียนรู้ทักษะการสอนแบบจุลภาคทักษะสำหรับครูเป็นศูนย์กลางทักษะสำหรับผู้เรียนเป็นศูนย์กลางขั้นตอนของการสอนแบบจุลภาค

          1.
ขั้นศึกษาทักษะที่ต้องการฝึกขั้นเลือกเนื้อหาและวางแผนการสอนขั้นสอนขั้นวิเคราะห์ผลการสอนขั้นตัดสินใจขั้นจบกระบวนการสอนหรือวางแผนเตรียมการสอนอีกเพื่อทดลองสอนกับนักเรียนกลุ่มอื่นการสอนเป็นคณะเป็นวิธีดำเนินการสอนแบบที่เน้นการใช้บุคลากรให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น โดยจัดให้ครูตั้งแต่สองคนขึ้นไปร่วมกันวางแผนวัตถุประสงค์ของการสอนเป็นคณะปรับปรุงประสิทธิภาพของการสอนส่งเสริมการดำเนินชีวิตแบบประชาธิปไตยมีเวลาให้ผู้เรียนมากแก้ปัญหาจำนวนนักเรียนในห้องเรียนส่งเสริมการพัฒนาด้านต่างๆแก้ปัญหาความไม่ยุติรูปแบบของการสอนเป็นคณะแบบมีผู้นำคณะแบบไม่มีผู้นำคณะแบบครูพี่เลี้ยงวิธีการดำเนินการสอนเป็นคณะการสอนเป็นกลุ่มใหญ่ความคิดรวบยอดการสอนเป็นกลุ่มเล็กการค้นคว้าด้วยตนเอง